ชื่อภาษาไทย : ผศ.ดร.กฤษฎา พรหมเวค
ชื่อภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr.Krissada Promvek
สถานที่ติดต่อ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10240 โทรศัพท์ : 0906685471
E-mail address : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
การศึกษา
พ.ศ. 2536 – 2539 | ปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต (กายภาพบำบัด) B.Sc. (Physical Therapy) คณะแพทยศาสตร์ สาขากายภาพบำบัด รุ่น 1, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, วิทยาเขตประสานมิตร |
พ.ศ. 2536 – 2540 | ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต B.A. (History) คณะมนุษยศาสตร์, รุ่นที่ 24 มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
พ.ศ. 2541 – 2546 | ปริญญาโทศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) M.A. (Political Science), สาขาการระหว่างประเทศและการทูต คณะรัฐศาสตร์, ภาคพิเศษ กทม. รุ่น 11, มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
พ.ศ. 2542 – 2549 | ปริญญาโทรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต M.A. (Political Science), International Political Economy; English Program คณะรัฐศาสตร์ MIR รุ่น 2, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ |
พ.ศ. 2550 – 2555 | ปริญญาเอก Ph.D. (Political Science); วิชาเอก หมายเลข 23.00.04 สาขาวิชา Political problems of international Relations and global and regional development จากมหาวิทยาลัย Peoples’ Friendship University of Russia ประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย (канд. полит. наук : 23.00.04 ( Политические проблемы международных отношений, глобального и регионального развития) Российскийуниверситет дружбы народов |
พ.ศ. 2556 – 2557 | ปริญญาโทศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (การบริหารการพัฒนาสังคม) M.A. (Social Development Administration), คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, ภาคพิเศษ กทม. รุ่น 22, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ |
พ.ศ. 2555 – 2558 | ปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต (LL.B.) รุ่น 41 สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยคำแหง |
พ.ศ. 2555 – 2558 | ปริญญาตรีเกษตรศาสตรบัณฑิต (การจัดการการผลิตสัตว์) B.Ag. (Animal Production Management) รุ่น 33 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
พ.ศ. 2560 – 2561 | ปริญญาตรีเกษตรศาสตรบัณฑิต (ส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม) B.Ag. (Forestry and Environmental Extension) รุ่น 37 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช |
พ.ศ. 2560 – 2564 | ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษารัสเซีย) B.A. (Russian) คณะมนุษยศาสตร์, รุ่นที่ 47 มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
ทุนการศึกษา
พ.ศ. 2543 | ทุนการศึกษาจากสถาบัน Sciences Po de Paris - L'Institut d'études politiques (IEP) จากประเทศฝรั่งเศส เพื่อศึกษาในระดับ Diplom in Asia – Europe Programme |
พ.ศ. 2550 – 2555 | ทุนรัฐบาลรัสเซีย เพื่อศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขารัฐศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัย Peoples’ Friendship University of Russia ประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย |
พ.ศ. 2556 | ทุนสำหรับข้าราชการพลเรือนสามัญ ไปฝึกอบรมหลักสูตร Governance and Anti – Corruption ประจำปี 2555 (เพิ่มเติม) ณ ประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ (สำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการ และประเภทวิชาการ) |
อบรมหลักสูตรพิเศษ
พ.ศ. 2559 – 2560 | - เข้าอบรมหลักสูตรนักบริหารการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ (นพม.) รุ่นที่ 15 (ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานรุ่น) ระหว่างวันที่ 18 ธันวาคม 2559 – 24 กุมภาพันธ์ 2560 ณ สถาบันพระประชาบดี อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี |
พ.ศ. 2563 | - เข้าอบรมหลักสูตรการพัฒนาองค์ความรู้การก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบสำหรับผู้บริหาร (พรส.) รุ่นที่ 13 ระหว่างวันที่ 9 มกราคม 2563 – 21 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ |
พ.ศ. 2564 | - เข้าอบรมหลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ระดับผู้บริหาร (พสบ.) รุ่นที่ 27 ระหว่างวันที่ 8 – 24 กันยายน 2564 ณ โรงเรียนกิจการพลเรือน กรมกิจการพลเรือนทหารบก แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ |
ค.ศ. 2022 | United Nations Regional Courses in International Law for Asia – Pacific during 14 November – 7 December 2022 at UN, Bangkok Thailand |
ประสบการณ์การทำงาน :
พ.ศ. 2540 – 2543 | แผนกกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี |
พ.ศ. 2544 – 2548 | แผนกกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
พ.ศ. 2549 – 2550 | นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ฝ่ายแผนงานและประเมินผล กองกลาง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ |
พ.ศ. 2555 – 2556 | หัวหน้ากลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ ฝ่ายแผนงานและประเมินผล กองกลาง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ |
พ.ศ. 2556 | นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ ช่วยราชการกองอาเซียน สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ |
พ.ศ. 2556 – 2558 | หัวหน้ากลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ ฝ่ายแผนงานและประเมินผล กองกลาง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ |
พ.ศ. 2558 – 2560 | นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กลุ่มความร่วมมือระหว่างประเทศ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมกิจการเด็กและเยาวชน |
พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน | อาจารย์ ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
ประสบการณ์การทำงานพิเศษ :
พ.ศ. 2540 – 2548 | อาจารย์พิเศษทางคลินิก ด้านกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ |
พ.ศ. 2544 – 2548 | อาจารย์พิเศษทางคลินิก เรื่อง Ambulation Training คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา |
พ.ศ. 2543 – 2548 | นักกายภาพบำบัดผู้เชี่ยวชาญด้าน “Hand Injury” โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี และโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา |
พ.ศ. 2544 – 2548 | นักกายภาพบำบัดผู้เชี่ยวชาญด้าน “Burn Injury” โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี และโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา |
พ.ศ. 2556 | วิทยากรเรื่อง “ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน” "โครงการสัปดาห์อาเซียน II และ III: สัมมนาสารัตถะครั้งที่ ๑๐ ประจำปี ๒๕๕๖" วันพุธที่ 28 สิงหาคม 2556 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
พ.ศ. 2556 | วิทยากรร่วมอภิปรายเวทีเสวนา หัวข้อ “ก้าวข้ามความท้าทายการเข้าถึงความยุติธรรมเพื่อคุ้มครองสิทธิเด็กและผู้หญิงในจังหวัดชายแดนใต้” วันอังคารที่10 ธันวาคม 2556 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องแรมแบรนดท์ 2 โรงแรมแรมแบรนทด์ ซอยสุขุมวิท 18 กรุงเทพฯ |
พ.ศ. 2557 | วิทยากรบรรยายในหัวข้อ “การส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ” ให้กับคณะกรรมาธิการด้านพัฒนาสตรี เด็ก และเยาวชน สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย ในวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุม เฮ นาคา โรงแรมรอยัล ภูเก็ต ซิตี้ ถนนพังงา ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต |
พ.ศ. 2556 – 2558 | คณะกรรมการจริยธรรมประจำสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ |
พ.ศ. 2560 | วิทยากรร่วมอภิปรายเวทีเสวนาวิชาการหัวข้อ เสวนา เรื่อง "๓ ขั้วมหาอำนาจ ณ ภูมิภาคอาเซียน" เมื่อวันจันทร์ที่ 20 ก.พ. 60, 09.00 – 12.00 ณ ห้องบรรยาย วทอ.ยศ.ทอ. |
พ.ศ. 2558 – 2560 | ผู้ประสานงานด้านเยาวชนอาเซียน ประจำประเทศไทย (Focal Point of Senior Officials Meeting on Youth of Thailand) |
ประสบการณ์พิเศษ
พ.ศ. 2557 | โครงการ JENESYS 2.0 Programme สาขา Community Vitalization and Development. ระหว่างวันที่ 17 – 25 กันยายน 2557 ณ จังหวัดอิชิกะวะ ประเทศญี่ปุ่น |
พ.ศ. 2559 | การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านเยาวชนครั้งที่ 8 (The Eight ASEAN Senior Officials Meeting on Youth : SOMY VIII) และการประชุมอื่นที่เกี่ยวข้อง ระหว่างวันที่ 24-26 สิงหาคม 2559 ณ กรุงเสียมเรียบประเทศกัมพูชา |
พ.ศ. 2560 | โครงการ JENESYS 2016 รุ่นที่ 4 ผู้นำนักศึกษาอาเซียน ระหว่างวันที่ 13 – 21 มีนาคม 2560 ณ เมืองฮิโรชิมา และ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น |
งานวิจัย
พ.ศ. 2561 | โครงการ “จับตามหาอำนาจรัสเซีย : ยุทธศาสตร์นโยบายต่างประเทศ เศรษฐกิจการค้า ความมั่นคงและวัฒนธรรม” ทุนสนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) |
พ.ศ. 2561 | ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมภาคประชาชนในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ เพื่อลดผลกระทบด้านน้ำป่าไหลหลาก น้ำท่วมฉับพลันและดินถล่มในพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยแควใหญ่ตอนล่าง ทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี พ.ศ. 2561 (ผู้ร่วมวิจัย) |
พ.ศ. 2563 | นโยบายต่างประเทศรัสเซียภายหลังการเลือกตั้งประธานาธิบดี แห่งสหพันธรัฐรัสเซียในปี ค.ศ. 2018ที่ได้รับการสนับสนุนจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง |
พ.ศ. 2563 | ศักยภาพการจัดทำบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดบึงกาฬ ทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2563 จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง |
พ.ศ. 2564 | ความร่วมมือของภาคีสาธารณะเพื่อสร้างแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ในมุมมอง ของผู้บริโภคจากการใช้ประโยชน์จากเส้นใยกล้วยแบบครบวงจร ทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ.2563 (ผู้ร่วมวิจัย) |
พ.ศ. 2565 | ปัญหาการเหยียดเชื้อชาติในสังคมรัสเซียและยุโรปตะวันออก. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณรายจ่ายจากรายได้ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเภทคณะ โดยคณะรัฐศาสตร์ งบประมาณประจำปี 2564 |
พ.ศ. 2565 | การเพิ่มช่องทางการขายสินค้าโอทอป “กุ้งจ่อม” ด้วยระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ: กรณีศึกษา อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณรายจ่ายจากรายได้มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเภทมหาวิทยาลัย โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา งบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 (หัวหน้าโครงการ) |
บทความวิชาการ :
ค.ศ. 2011 | Промвек Криссада. Различия в политике о ГМО между США и ЕС // Вестник РУДН. Серия «Политология». – 2011. – №2. – С.46–50. |
ค.ศ. 2011 | Промвек К. ВТО и политика в сфере ГМО // Политические институты и процессы в эпоху глобализации: Сборник статей студентов, аспирантов и молодых ученыхполитологов / Под ред. проф. Д.Е. Слизовского. – М.: МАКС Пресс, 2011. – С. 58–65. |
ค.ศ. 2011 | Промвек К. Генетически модифицированные организмы: трансатлантический торговый спор // Политические институты и процессы в эпоху глобализации: Сборникстатей студентов, аспирантов и молодых ученых политологов / Подред. проф. Д.Е. Слизовского. – М.: МАКС Пресс, 2011. – С. 65–71. |
พ.ศ. 2558 | กฤษฎา พรหมเวค. (2558). Russia’s Pivot to Asia: การปรับเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศของรัสเซียต่อภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก. เอเชียพิจาร. 2,(4), 89 – 124. |
พ.ศ. 2559 | กฤษฎา พรหมเวค. (2559). “ความสัมพันธ์ 20 ปี อาเซียน – รัสเซีย: อาเซียนได้อะไร?”.รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 (พ.ศ.2559) “1 ปี ประชาคม อาเซียน”. น.172 – 209. |
พ.ศ. 2560 | กฤษฎา พรหมเวค. (2560). “รัสเซียกับการใช้ soft power ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.”รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2560) “พลวัตรประชาคมอาเซียนกับพลวัตรโลก”. น. 126 -150. |
พ.ศ. 2560 | กฤษฎา พรหมเวค. (2560). “การศึกษาในฐานะเครื่องมือเครื่องใช้ soft power ของรัสเซียในเอเชีย” วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2560. น. 87 – 113. |
พ.ศ. 2562 | กฤษฎา พรหมเวค. (2562). “สถานะทางกฎหมายของหลักกาหลักการความรับผิดชอบเพื่อการปกป้อง” รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ “ธรรมศาสตร์ – นิติพัฒน์ ครั้งที่ ๔” ประจําปี ๒๕๖๒ เล่มที่ 2. น.517 –532. |
พ.ศ. 2563 | กฤษฎา พรหมเวค (2563). “รัสเซีย: การเมืองเรื่องวอดก้า”.วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 20 ฉบับที่ 1.มกราคม – มิถุนายน 2563. น.202-223 |
พ.ศ. 2564 | กฤษฎา พรหมเวค (2564). “บทบาทของสถาบันคลังสมอง (Think Tank) ในการกำหนดนโยบายต่างประเทศของสหพันธรัฐรัสเซีย”.วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 21.ฉบับที่ 2. กรกฎาคม – ธันวาคม 2564. น.532-563 |
พ.ศ. 2564 | กฤษฎา พรหมเวค และสิงห์ สิงห์ขจร.(2564). “จากตัวเงินตัวทองสู่สัตว์เศรษฐกิจ เรื่องจริงหรือเพ้อเจ้อ”. วารสารทหารพัฒนา. ปีที่ 45 ฉบับที่ 2 (2021): พฤษภาคม - สิงหาคม 2564. น. 81 – 92. |
พ.ศ. 2564 | รัตนา บุญอ่วม, ปรัชญา มหาวินิจฉัยมนตรี, กฤษฎา พรหมเวค, กฤษณะ เชื้อชัยนาท และสิงห์ สิงห์ขจร. (2564).การสื่อสารของผู้นำทางความคิดด้านความเป็นผู้นำทางศิลปะมวยไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม 2564 - มิถุนายน 2564. น. 1 – 10. |
พ.ศ. 2565 | กฤษณา รักชื่น และกฤษฎา พรหมเวค. (2565). “ผลกระทบของวัคซีน COVID-19 ต่อบทบาทรัสเซียในเวทีโลก”. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (2565) : มกราคม-มิถุนายน 2565. น. 138-158. |
พ.ศ. 2565 | กฤษฎา พรหมเวค, สิงห์ สิงห์ขจร, ปรัชญา มหาวินิจฉัยมนตรี, กฤษณะ เชื้อชัยนาท, รัตนา บุญอ่วม ประภวิษณุ์ พนัสทรัพย์สุข และสรสิทธิ์ เภตรา. (2564). “สงครามสื่อมวลชนรัสเซีย -ยูเครน ผ่านการกําหนดวาระข่าวสารของประเทศรัสเซีย.” วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. ปีที่ 4 .ฉบับที่ 2 . กรกฎาคม -ธันวาคม 2565. น. 1 – 10. |
พ.ศ. 2565 | กฤษฎา พรหมเวค และสิงห์ สิงห์ขจร. (2565). “กระต่ายเนื้อ: ทางออกยุคเนื้อหมูแพง”. วารสารทหารพัฒนา. ปีที่ 46 ฉบับที่ 2 (2022): พฤษภาคม - สิงหาคม 2565 น. 52 – 66. |
พ.ศ. 2565 | กฤษฎา พรหมเวค. (2565). “นโยบายต่างประเทศรัสเซียในช่วงการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของนายวลาดิมีร์ ปูตินสมัยที่ 4 ระหว่างปี ค.ศ. 2018 – 2020”. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. ปีที่ 13 .ฉบับที่ 2 . กรกฎาคม -ธันวาคม 2565. น. 113 – 156. |
พ.ศ. 2566 | สิงห์ สิงห์ขจร, กฤษณะ เชื้อชัยนาท, กฤษฎา พรหมเวค, ณัฐกานต์ แก้วขำ, ประภวิษณุ์ พนัสทรัพย์ และรัตนา บุญอ่วม. (2566). “ข้อควรระวังร่องรอยดิจิทัลในโลกออนไลน์” วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. ปีที่ 5 .ฉบับที่ 2 . กรกฎาคม - ธันวาคม 2566. น. 112 – 119. |
Book Chapter
พ.ศ. 2559 | กฤษฎา พรหมเวค. (2559). หน่วยที่ 8 การเมืองการปกครองของรัสเซีย. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา 82426 การเมืองการปกครองในยุโรปและอเมริกา หน่วยที่ 8 - 15 สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราชฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1. |
พ.ศ. 2562 | วุฒิพล วุฒิวรพงษ์ และ กฤษฎา พรหมเวค. (2562). หน่วยที่ 15 ชุมชน – ประชาคม. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา 82227 ความคิดทางการเมืองและสังคม หน่วยที่ 11 - 15 สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ครั้งที่ 1. |
ค.ศ. 2022 | Promvek Krissada. (2022). ‘Energy, SE Asia, Central Asia and BRI’ in Ploberger, C., Ngampamuan, S. and Song, T. (Ed.). China’s Belt and Road Initiative: The Impact on Sub-regional Southeast Asia. (60 – 74) (Oxon and New York :Routledge). |
บทพิจารหนังสือ :
พ.ศ. 2558 | กฤษฎา พรหมเวค. (2558). วิจารณ์หนังสือเรื่อง The End of American World Order. โดย Amitav Acharya. เอเชียพิจาร 2, (3), 209 – 220. |
ใบประกอบวิชาชีพ : กายภาพบำบัดเลขที่ ก. 1346 จากสภากายภาพบำบัด
ใบอนุญาต: ใบอนุญาตใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ เลขที่ U 1 – 11775 - 2567
สมาชิก: Russian International Studies Association (RISA)
ภาษาต่างประเทศ : ภาษาอังกฤษ, ภาษารัสเซีย
เครื่องราชอิสริยาภรณ ์ :
5 ธันวาคม 2549 ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)
5 ธันวาคม 2556 ตริตาภรณช้างเผือก (ต.ช.)
5 ธันวาคม 2558 ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.)
ยศทางทหาร : จ่าสิบตรี