
ชื่อภาษาไทย : อาจารย์พิชญา วิทูรกิจจา
ชื่อภาษาอังกฤษ : Lecturer Pichaya Witoonkitja
สถานที่ติดต่อ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10240
E-mail address : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
วุฒิการศึกษา
ปี 2556 – 2559 รัฐศาสตร์บัณฑิต สาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับ 1)
ปี 2560 - 2562 ปริญญามหาบัณฑิต หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (วิทยานิพนธ์ระดับดีมาก)
ปี 2564 - ปัจจุบัน กำลังศึกษา หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ประวัติการทำงาน
ปี 2557 – 2561 ฝ่ายวิชาการ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปี 2557 – 2558 หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์ ชมรมอาสาวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปี 2560 – 2563 ผู้ช่วยสอนและผู้ช่วยวิจัย ภาควิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปี 2560 – 2565 ผู้ช่วยสอนและผู้ช่วยวิจัย สาขาวิชาบริหารรัฐกิจ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปี 2564 – 2565 ผู้ช่วยวิจัย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
งานวิชาการที่ผ่านมา
- บรรณาธิการหนังสือ “ไทย : ศูนย์กลางประชาคมอาเซียน” กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เสมาธรรม, 2560. ของ ศูนย์อาเซียนศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- บรรณาธิการหนังสือ “นโยบายต่างประเทศไทย” กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เสมาธรรม, 256
ผู้แต่ง ศ.ดร. ประภัสสร์ เทพชาตรี - Research Assistant “Project of the 5-year strategy plan of the Climate Change International Technical and Training Center (CITC)” Japan International Cooperation Agency (JICA)
- โครงการจัดทำแผนแม่บท 20 ปี (พ.ศ. 2561-2580) แผนยุทธศาสตร์ 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) และแผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2562-2563 โดย ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เสนอต่อ ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน)
- โครงการติดตามและประเมินผลการใช้จ่ายงบประมาณตามอำนาจของ
รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีประจำสำนักนายกรัฐมนตรี ในช่วงระยะเวลา 3 ปี (ปีงบประมาณ พ.ศ. 2558-2560) โดย ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เสนอต่อ สำนักงานปลัดสำนักนายกรัฐมนตรี - โครงการศึกษาแนวทางการกำกับดูแลและพัฒนาศักยภาพธุรกิจนำเที่ยวและมัคคุเทศก์ให้มีขีดความสามารถในการแข่งขัน” โดย คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เสนอต่อ กรมการท่องเที่ยว
- โครงการจัดทำแผนยุทธศาสตร์สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง 20 ปี (พ.ศ. 2561–2580) โดย ศูนย์บริการวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
- โครงการพัฒนานวัตกรรมเพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก” เสนอต่อ สำนักนักงานการวิจัยแห่งชาติ (วช.) โดย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
- โครงการการประเมินผลตอบแทนทางสังคม (SROI) ของการจัดการสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอำเภอ (พชอ.) โดย สถาบันวิจัยสังคม จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เสนอต่อ สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.)
- โครงการการพัฒนาระบบการบริหารจัดการองค์ความรู้ด้านสิ่งแวดล้อมเพื่อสนับสนุนการพัฒนาระบบ ววน. โดย รศ.ดร. โสภารัตน์ จารุสมบัติ หัวหน้าโครงการ เสนอต่อ สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สกสว.)
- โครงการจัดทำร่างยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์กรอัยการระยะ 15 ปี (พ.ศ. 2566 – 2580) โดย รศ.ดร.วันชัย มีชาติ หัวหน้าโครงการ เสนอต่อ สำนักงานอัยการสูงสุด
- โครงการการทบทวนและประเมินผลกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ พ.ศ. 2544-2564 โดย ศ.ดร.เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา หัวหน้าโครงการ เสนอต่อ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ
ผลงานวิชาการ
- พิชญา วิทูรกิจจา. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพสู่การปฏิบัติ: กรณีศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี. (รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.
- พิชญา วิทูรกิจจา. (2563). แนวทางประชารัฐกับการจัดการปกครองสาธารณะแนวใหม่: ศึกษาผ่านกรณีนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพ. รัฐศาสตรสาร, 41(2), 132-174.
- พิชญา วิทูรกิจจา. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายเศรษฐกิจชีวภาพของจังหวัดอุบลราชธานี: ศึกษาเฉพาะกรณีการปลูกมันสำปะหลัง. PAAT Journal, 2(3), 1-14.
รางวัลที่ได้รับ
- รางวัลเรียนดี (Dean’s List) อันดับ 3 ของชั้นปีที่ 2 ประจำปีการศึกษา 2557 สาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- รางวัลเรียนดี (Dean’s List) อันดับ 3 ของชั้นปีที่ 3 ประจำปีการศึกษา 2558 สาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- รางวัลเรียนดี (Dean’s List) อันดับ 2 ของชั้นปีที่ 4 ประจำปีการศึกษา 2559 สาขาการเมืองการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
- รางวัลชมเชย (เข้ารอบ 5 ทีมสุดท้าย) “โครงการประลองโจทย์ด้านนโยบายสาธารณะกับผู้บริหารและนักวิจัยของทีดีอาร์ไอ” จัดโดย สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) ปี 2559
ความสนใจ
- นโยบายและการจัดการสิ่งแวดล้อม
- บริหารรัฐกิจร่วมสมัย
- แรงงานศึกษา
- การจัดทำและประเมินโครงการ