ผศ.ดร.กฤษฎา พรหมเวค

|
เขียนโดย PolSci.ru


ชื่อภาษาไทย : ผศ.ดร.กฤษฎา พรหมเวค
ชื่อภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Dr.Krissada Promvek
สถานที่ติดต่อ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10240 โทรศัพท์ : 0906685471 
E-mail address :  This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.


การศึกษา

พ.ศ. 2536 – 2539   ปริญญาตรีวิทยาศาสตรบัณฑิต (กายภาพบำบัด) B.Sc. (Physical Therapy) คณะแพทยศาสตร์ สาขากายภาพบำบัด รุ่น 1, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, วิทยาเขตประสานมิตร
พ.ศ. 2536 – 2540  ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต B.A. (History) คณะมนุษยศาสตร์, รุ่นที่ 24 มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2541 – 2546 ปริญญาโทศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) M.A. (Political Science), สาขาการระหว่างประเทศและการทูต คณะรัฐศาสตร์, ภาคพิเศษ กทม. รุ่น 11, มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2542 – 2549 ปริญญาโทรัฐศาสตร์มหาบัณฑิต M.A. (Political Science), International Political Economy; English Program คณะรัฐศาสตร์ MIR รุ่น 2, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
พ.ศ. 2550 – 2555  ปริญญาเอก Ph.D. (Political Science); วิชาเอก หมายเลข 23.00.04 สาขาวิชา Political problems of international Relations and global and regional development จากมหาวิทยาลัย Peoples’ Friendship University of Russia ประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย (канд. полит. наук : 23.00.04 ( Политические проблемы международных отношений, глобального и регионального развития) Российскийуниверситет дружбы народов
พ.ศ. 2556 – 2557 ปริญญาโทศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต (การบริหารการพัฒนาสังคม) M.A. (Social Development Administration), คณะพัฒนาสังคมและสิ่งแวดล้อม, ภาคพิเศษ กทม. รุ่น 22, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์
พ.ศ. 2555 – 2558 ปริญญาตรีนิติศาสตรบัณฑิต (LL.B.) รุ่น 41 สาขาวิชานิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยคำแหง
พ.ศ. 2555 – 2558 ปริญญาตรีเกษตรศาสตรบัณฑิต (การจัดการการผลิตสัตว์) B.Ag. (Animal  Production  Management) รุ่น 33 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พ.ศ. 2560 – 2561 ปริญญาตรีเกษตรศาสตรบัณฑิต (ส่งเสริมการป่าไม้และสิ่งแวดล้อม) B.Ag. (Forestry and Environmental  Extension) รุ่น 37 สาขาวิชาเกษตรศาสตร์และสหกรณ์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
พ.ศ. 2560 – 2564 ปริญญาตรีศิลปศาสตรบัณฑิต (ภาษารัสเซีย) B.A. (Russian) คณะมนุษยศาสตร์, รุ่นที่ 47 มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ทุนการศึกษา
พ.ศ. 2543 ทุนการศึกษาจากสถาบัน Sciences Po de Paris - L'Institut d'études politiques (IEP)  จากประเทศฝรั่งเศส เพื่อศึกษาในระดับ Diplom in Asia – Europe Programme
พ.ศ. 2550 – 2555 ทุนรัฐบาลรัสเซีย เพื่อศึกษาระดับปริญญาเอก ในสาขารัฐศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัย Peoples’ Friendship University of Russia ประเทศสหพันธรัฐรัสเซีย
พ.ศ. 2556 ทุนสำหรับข้าราชการพลเรือนสามัญ ไปฝึกอบรมหลักสูตร Governance and Anti – Corruption  ประจำปี 2555 (เพิ่มเติม) ณ ประเทศสาธารณรัฐสิงคโปร์ (สำหรับตำแหน่งประเภทอำนวยการ และประเภทวิชาการ)

อบรมหลักสูตรพิเศษ
พ.ศ. 2559 – 2560 - เข้าอบรมหลักสูตรนักบริหารการพัฒนาสังคมและความมั่นคง ของมนุษย์ (นพม.)  รุ่นที่ 15 (ได้รับเลือกให้ดำรงตำแหน่งประธานรุ่น) ระหว่างวันที่ 18 ธันวาคม 2559 – 24 กุมภาพันธ์ 2560 ณ สถาบันพระประชาบดี อำเภอธัญบุรี จังหวัดปทุมธานี
พ.ศ. 2563 - เข้าอบรมหลักสูตรการพัฒนาองค์ความรู้การก่อการร้ายและการก่อความไม่สงบสำหรับผู้บริหาร (พรส.) รุ่นที่ 13 ระหว่างวันที่ 9 มกราคม 2563 – 21 กุมภาพันธ์ 2563 ณ โรงเรียนเสนาธิการทหารบก แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ
พ.ศ. 2564 - เข้าอบรมหลักสูตรพัฒนาสัมพันธ์ระดับผู้บริหาร (พสบ.) รุ่นที่ 27 ระหว่างวันที่ 8 – 24 กันยายน 2564 ณ  โรงเรียนกิจการพลเรือน กรมกิจการพลเรือนทหารบก แขวงถนนนครไชยศรี เขตดุสิต กรุงเทพฯ
ค.ศ. 2022 United Nations Regional Courses in International Law for Asia – Pacific during 14 November – 7 December 2022  at UN, Bangkok Thailand

ประสบการณ์การทำงาน :

 พ.ศ. 2540 – 2543 แผนกกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชกรรมฟื้นฟู โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี
 พ.ศ. 2544 – 2548 แผนกกายภาพบำบัด กลุ่มงานเวชศาสตร์ฟื้นฟู โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
 พ.ศ. 2549 – 2550 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ ฝ่ายแผนงานและประเมินผล กองกลาง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
 พ.ศ. 2555 – 2556 หัวหน้ากลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ ฝ่ายแผนงานและประเมินผล กองกลาง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
 พ.ศ. 2556 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ ช่วยราชการกองอาเซียน สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
 พ.ศ. 2556 – 2558 หัวหน้ากลุ่มนโยบายและยุทธศาสตร์ ฝ่ายแผนงานและประเมินผล กองกลาง สำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
 พ.ศ. 2558 – 2560 นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ กลุ่มความร่วมมือระหว่างประเทศ กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมกิจการเด็กและเยาวชน
 พ.ศ. 2561 – ปัจจุบัน อาจารย์ ภาควิชาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ประสบการณ์การทำงานพิเศษ :

พ.ศ. 2540 – 2548 อาจารย์พิเศษทางคลินิก ด้านกายภาพบำบัด มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
พ.ศ. 2544 – 2548 อาจารย์พิเศษทางคลินิก เรื่อง Ambulation Training คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ โรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา
พ.ศ. 2543 – 2548 นักกายภาพบำบัดผู้เชี่ยวชาญด้าน “Hand Injury” โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี และโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
พ.ศ. 2544 – 2548 นักกายภาพบำบัดผู้เชี่ยวชาญด้าน “Burn Injury” โรงพยาบาลพระนั่งเกล้า จังหวัดนนทบุรี และโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา
พ.ศ. 2556 วิทยากรเรื่อง “ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน” "โครงการสัปดาห์อาเซียน II และ III: สัมมนาสารัตถะครั้งที่ ๑๐ ประจำปี ๒๕๕๖" วันพุธที่ 28 สิงหาคม 2556 คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2556 วิทยากรร่วมอภิปรายเวทีเสวนา หัวข้อ “ก้าวข้ามความท้าทายการเข้าถึงความยุติธรรมเพื่อคุ้มครองสิทธิเด็กและผู้หญิงในจังหวัดชายแดนใต้” วันอังคารที่10 ธันวาคม 2556 เวลา 09.00-12.00 น. ณ ห้องแรมแบรนดท์ 2 โรงแรมแรมแบรนทด์ ซอยสุขุมวิท 18 กรุงเทพฯ
พ.ศ. 2557 วิทยากรบรรยายในหัวข้อ “การส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ” ให้กับคณะกรรมาธิการด้านพัฒนาสตรี เด็ก และเยาวชน สันนิบาตเทศบาลแห่งประเทศไทย ในวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๗ เวลา ๑๓.๐๐ – ๑๖.๓๐ น. ณ ห้องประชุม เฮ นาคา โรงแรมรอยัล ภูเก็ต ซิตี้ ถนนพังงา ตำบลตลาดใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดภูเก็ต
พ.ศ. 2556 – 2558 คณะกรรมการจริยธรรมประจำสำนักงานส่งเสริมสวัสดิภาพและพิทักษ์เด็ก เยาวชน ผู้ด้อยโอกาส และผู้สูงอายุ
พ.ศ. 2560 วิทยากรร่วมอภิปรายเวทีเสวนาวิชาการหัวข้อ เสวนา เรื่อง "๓ ขั้วมหาอำนาจ ณ ภูมิภาคอาเซียน" เมื่อวันจันทร์ที่ 20 ก.พ. 60, 09.00 – 12.00 ณ ห้องบรรยาย วทอ.ยศ.ทอ.
พ.ศ. 2558 – 2560 ผู้ประสานงานด้านเยาวชนอาเซียน ประจำประเทศไทย (Focal Point of Senior Officials Meeting on Youth of Thailand)

ประสบการณ์พิเศษ

พ.ศ. 2557 โครงการ JENESYS 2.0 Programme สาขา Community Vitalization and Development. ระหว่างวันที่ 17 – 25 กันยายน 2557 ณ จังหวัดอิชิกะวะ ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2559 การประชุมเจ้าหน้าที่อาวุโสอาเซียนด้านเยาวชนครั้งที่ 8 (The Eight ASEAN Senior Officials Meeting on Youth : SOMY VIII) และการประชุมอื่นที่เกี่ยวข้อง ระหว่างวันที่ 24-26 สิงหาคม 2559 ณ กรุงเสียมเรียบประเทศกัมพูชา
พ.ศ. 2560 โครงการ JENESYS 2016 รุ่นที่ 4 ผู้นำนักศึกษาอาเซียน ระหว่างวันที่ 13 – 21 มีนาคม 2560 ณ เมืองฮิโรชิมา และ กรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น

งานวิจัย

พ.ศ. 2561 โครงการ “จับตามหาอำนาจรัสเซีย : ยุทธศาสตร์นโยบายต่างประเทศ เศรษฐกิจการค้า ความมั่นคงและวัฒนธรรม” ทุนสนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)
พ.ศ. 2561 ยุทธศาสตร์การมีส่วนร่วมภาคประชาชนในการบริหารจัดการเชิงพื้นที่ เพื่อลดผลกระทบด้านน้ำป่าไหลหลาก น้ำท่วมฉับพลันและดินถล่มในพื้นที่ลุ่มน้ำย่อยแควใหญ่ตอนล่าง ทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติประจำปี พ.ศ. 2561 (ผู้ร่วมวิจัย)
พ.ศ. 2563 นโยบายต่างประเทศรัสเซียภายหลังการเลือกตั้งประธานาธิบดี แห่งสหพันธรัฐรัสเซียในปี ค.ศ. 2018ที่ได้รับการสนับสนุนจากคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2563 ศักยภาพการจัดทำบริการสาธารณะขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในจังหวัดบึงกาฬ ทุนสนับสนุนการวิจัย ประจำปีงบประมาณ 2563 จากมหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2564 ความร่วมมือของภาคีสาธารณะเพื่อสร้างแผนการตลาดเชิงกลยุทธ์ในมุมมอง ของผู้บริโภคจากการใช้ประโยชน์จากเส้นใยกล้วยแบบครบวงจร ทุนสนับสนุนจากสำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ ประจำปี พ.ศ.2563 (ผู้ร่วมวิจัย)
พ.ศ. 2565 ปัญหาการเหยียดเชื้อชาติในสังคมรัสเซียและยุโรปตะวันออก. ได้รับทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณรายจ่ายจากรายได้ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเภทคณะ โดยคณะรัฐศาสตร์ งบประมาณประจำปี 2564
พ.ศ. 2565 การเพิ่มช่องทางการขายสินค้าโอทอป “กุ้งจ่อม” ด้วยระบบภูมิศาสตร์สารสนเทศ: กรณีศึกษา อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ทุนอุดหนุนการวิจัยจากงบประมาณรายจ่ายจากรายได้มหาวิทยาลัยรามคำแหง ประเภทมหาวิทยาลัย โดยสถาบันวิจัยและพัฒนา งบประมาณประจำปี พ.ศ. 2565 (หัวหน้าโครงการ)

บทความวิชาการ :

ค.ศ. 2011 Промвек Криссада. Различия в политике о ГМО между США и ЕС // Вестник РУДН. Серия «Политология». – 2011. – №2. – С.46–50.
ค.ศ. 2011 Промвек К. ВТО и политика в сфере ГМО // Политические институты и процессы в эпоху глобализации: Сборник статей студентов, аспирантов и молодых ученыхполитологов / Под ред. проф. Д.Е. Слизовского. – М.: МАКС Пресс, 2011. – С. 58–65.
ค.ศ. 2011 Промвек К. Генетически модифицированные организмы: трансатлантический торговый спор // Политические институты и процессы в эпоху глобализации: Сборникстатей студентов, аспирантов и молодых ученых политологов / Подред. проф. Д.Е. Слизовского. – М.: МАКС Пресс, 2011. – С. 65–71.
พ.ศ. 2558 กฤษฎา พรหมเวค. (2558). Russia’s Pivot to Asia: การปรับเปลี่ยนนโยบายต่างประเทศของรัสเซียต่อภูมิภาคเอเชีย – แปซิฟิก. เอเชียพิจาร. 2,(4), 89 – 124.
พ.ศ. 2559 กฤษฎา พรหมเวค. (2559). “ความสัมพันธ์ 20 ปี อาเซียน – รัสเซีย: อาเซียนได้อะไร?”.รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 1 (พ.ศ.2559) “1 ปี ประชาคม อาเซียน”. น.172 – 209.
พ.ศ. 2560 กฤษฎา พรหมเวค. (2560). “รัสเซียกับการใช้ soft power ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.”รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 2 (พ.ศ.2560) “พลวัตรประชาคมอาเซียนกับพลวัตรโลก”. น. 126 -150.
พ.ศ. 2560 กฤษฎา พรหมเวค. (2560). “การศึกษาในฐานะเครื่องมือเครื่องใช้ soft power ของรัสเซียในเอเชีย” วารสารรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 เดือนกรกฎาคม – ธันวาคม 2560. น. 87 – 113.
พ.ศ. 2562 กฤษฎา พรหมเวค. (2562). “สถานะทางกฎหมายของหลักกาหลักการความรับผิดชอบเพื่อการปกป้อง” รายงานสืบเนื่องการประชุมวิชาการระดับชาติ “ธรรมศาสตร์ – นิติพัฒน์ ครั้งที่ ๔” ประจําปี ๒๕๖๒ เล่มที่ 2. น.517 –532.
พ.ศ. 2563 กฤษฎา พรหมเวค (2563). “รัสเซีย: การเมืองเรื่องวอดก้า”.วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 20 ฉบับที่ 1.มกราคม – มิถุนายน 2563. น.202-223
พ.ศ. 2564 กฤษฎา พรหมเวค (2564). “บทบาทของสถาบันคลังสมอง (Think Tank) ในการกำหนดนโยบายต่างประเทศของสหพันธรัฐรัสเซีย”.วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ปีที่ 21.ฉบับที่ 2. กรกฎาคม – ธันวาคม 2564. น.532-563
พ.ศ. 2564 กฤษฎา พรหมเวค และสิงห์ สิงห์ขจร.(2564). “จากตัวเงินตัวทองสู่สัตว์เศรษฐกิจ เรื่องจริงหรือเพ้อเจ้อ”. วารสารทหารพัฒนา. ปีที่ 45 ฉบับที่ 2 (2021): พฤษภาคม - สิงหาคม 2564. น. 81 – 92.
พ.ศ. 2564 รัตนา บุญอ่วม, ปรัชญา มหาวินิจฉัยมนตรี, กฤษฎา พรหมเวค, กฤษณะ เชื้อชัยนาท และสิงห์ สิงห์ขจร. (2564).การสื่อสารของผู้นำทางความคิดด้านความเป็นผู้นำทางศิลปะมวยไทย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 มกราคม 2564 - มิถุนายน 2564. น. 1 – 10.
พ.ศ. 2565 กฤษณา รักชื่น และกฤษฎา พรหมเวค. (2565). “ผลกระทบของวัคซีน COVID-19 ต่อบทบาทรัสเซียในเวทีโลก”. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (2565) : มกราคม-มิถุนายน 2565. น. 138-158.
พ.ศ. 2565 กฤษฎา พรหมเวค, สิงห์ สิงห์ขจร, ปรัชญา มหาวินิจฉัยมนตรี, กฤษณะ เชื้อชัยนาท, รัตนา บุญอ่วม ประภวิษณุ์ พนัสทรัพย์สุข และสรสิทธิ์ เภตรา. (2564). “สงครามสื่อมวลชนรัสเซีย -ยูเครน ผ่านการกําหนดวาระข่าวสารของประเทศรัสเซีย.” วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. ปีที่ 4 .ฉบับที่ 2 . กรกฎาคม -ธันวาคม 2565. น. 1 – 10.
พ.ศ. 2565 กฤษฎา พรหมเวค และสิงห์ สิงห์ขจร. (2565). “กระต่ายเนื้อ: ทางออกยุคเนื้อหมูแพง”. วารสารทหารพัฒนา. ปีที่ 46 ฉบับที่ 2 (2022): พฤษภาคม - สิงหาคม 2565 น. 52 – 66.
พ.ศ. 2565 กฤษฎา พรหมเวค. (2565). “นโยบายต่างประเทศรัสเซียในช่วงการดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีของนายวลาดิมีร์ ปูตินสมัยที่ 4 ระหว่างปี ค.ศ. 2018 – 2020”. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์. ปีที่ 13 .ฉบับที่ 2 . กรกฎาคม -ธันวาคม 2565. น. 113 – 156.
พ.ศ. 2566 สิงห์ สิงห์ขจร, กฤษณะ เชื้อชัยนาท, กฤษฎา พรหมเวค, ณัฐกานต์ แก้วขำ, ประภวิษณุ์ พนัสทรัพย์ และรัตนา บุญอ่วม. (2566). “ข้อควรระวังร่องรอยดิจิทัลในโลกออนไลน์” วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. ปีที่ 5 .ฉบับที่ 2 . กรกฎาคม - ธันวาคม 2566. น. 112 – 119.

Book Chapter

พ.ศ. 2559 กฤษฎา พรหมเวค. (2559). หน่วยที่ 8 การเมืองการปกครองของรัสเซีย. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา 82426 การเมืองการปกครองในยุโรปและอเมริกา หน่วยที่ 8 - 15 สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราชฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1.
พ.ศ. 2562 วุฒิพล วุฒิวรพงษ์ และ กฤษฎา พรหมเวค. (2562). หน่วยที่ 15 ชุมชน – ประชาคม. ใน เอกสารการสอนชุดวิชา 82227 ความคิดทางการเมืองและสังคม หน่วยที่ 11 - 15 สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช พิมพ์ครั้งที่ 1.
ค.ศ. 2022 Promvek Krissada. (2022). ‘Energy, SE Asia, Central Asia and BRI’ in Ploberger, C., Ngampamuan, S. and Song, T. (Ed.). China’s Belt and Road Initiative: The Impact on Sub-regional Southeast Asia. (60 – 74)  (Oxon and New York :Routledge).

บทพิจารหนังสือ :

พ.ศ. 2558 กฤษฎา พรหมเวค. (2558). วิจารณ์หนังสือเรื่อง The End of American World Order. โดย Amitav Acharya.  เอเชียพิจาร 2, (3), 209 – 220.


ใบประกอบวิชาชีพ 
:        กายภาพบำบัดเลขที่ ก. 1346 จากสภากายภาพบำบัด

ใบอนุญาต:                   ใบอนุญาตใช้สัตว์เพื่องานทางวิทยาศาสตร์ เลขที่ U 1 – 11775 - 2567

สมาชิก:                       Russian International Studies Association (RISA)

ภาษาต่างประเทศ 
:         ภาษาอังกฤษ, ภาษารัสเซีย

เครื่องราชอิสริยาภรณ ์ :     
5 ธันวาคม 2549               ตริตาภรณ์มงกุฎไทย (ต.ม.)
5 ธันวาคม 2556               ตริตาภรณช้างเผือก (ต.ช.)
5 ธันวาคม 2558               ทวีติยาภรณ์มงกุฎไทย (ท.ม.)

ยศทางทหาร :                 จ่าสิบตรี

หมวด: