ชื่อภาษาไทย : ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ปิยะภพ เอนกทวีกุล
ชื่อภาษาอังกฤษ : Asst. Prof. Piyaphob Anekthaweekul
สถานที่ติดต่อ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10240
E-mail address : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
ประวัติการศึกษา
ระดับปริญญาตรี
ปีการศึกษา 2552-2555 รัฐศาสตรบัณฑิต (ร.บ.) สาขารัฐศาสตร์ เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
ระดับปริญญาโท
ปีการศึกษา 2556-2559 รัฐศาสตรมหาบัณฑิต (ร.ม.) สาขาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ วิทยานิพนธ์ เรื่อง กลุ่มทหารบูรพาพยัคฆ์ในฐานะกลุ่มทางการเมือง ศึกษาระหว่างปี พ.ศ. 2544 จนถึงรัฐประหาร 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ ได้รับการประเมินในระดับ “ดี”
ประวัติการทำงาน
พ.ศ. 2561-2562 อาจารย์พิเศษสาขาวิชารัฐศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
พ.ศ. 2562-ปัจจุบัน อาจารย์ประจำกลุ่มวิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำกลุ่มวิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
งานบริหารภายในมหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2564-ปัจจุบัน คณะกรรมการศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2564-ปัจจุบัน กองบรรณาธิการและคณะผู้จัดทำวารสารรัฐศาสตร์พิจาร ศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2566-ปัจจุบัน รองประธานโครงการศึกษาภาคพิเศษ หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดหนองบัวลำภู
พ.ศ. 2567-ปัจจุบัน คณะกรรมการบริหารโครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกองทัพบกกับมหาวิทยาลัยรามคำแหง
พ.ศ. 2567-ปัจจุบัน คณะกรรมการพิจารณาคำขอรับการเทียบโอนผลการเรียนระดับปริญญาตรี โครงการความร่วมมือทางวิชาการระหว่างกองทัพบกกับมหาวิทยาลัยรามคำแหง หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต
งานอื่นๆ ภายในมหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความประจำวารสารรัฐศาสตร์พิจาร ศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
วิทยากรสัมมนาทางวิชาการ “การปรับตัวสู่รั้วมหาวิทยาลัย เรียนอย่างไรให้ประสบ ผลสำเร็จ” คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2565
เข้ารับการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2565 ระดับ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในฐานะอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ วันที่ 13 กันยายน พ.ศ. 2566
วิทยากรโครงการอบรมทักษะวิชาการก่อนสอบไล่ภาค 1/2566 วิชา POL1100 รัฐศาสตร์ทั่วไป วันที่ 10 ตุลาคม พ.ศ. 2566
เข้ารับการสัมภาษณ์จากคณะกรรมการตรวจประเมินคุณภาพการศึกษาภายใน ประจำปีการศึกษา 2565 ระดับ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ในฐานะอาจารย์ประจำคณะรัฐศาสตร์ วันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
วิทยากรการแข่งขันตอบปัญหาทางด้านรัฐศาสตร์ เนื่องในวันสถาปนาคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง ครบรอบ 50 ปี วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2566
วิทยากรโครงการอบรมทักษะวิชาการก่อนสอบไล่ภาคซ่อม 1/2566 วิชา POL2106 ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น วันที่ 10 มกราคม พ.ศ. 2567
วิทยากรร่วมโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชนและสังคม ชุมชนอ่อนนุชทาวน์เฮ้าส์ 1 เขตสวนหลวง กรุงเทพฯ ปีที่ 3 เรื่อง กฎหมายมรดก จัดโดย คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง วันที่ 9 มิถุนายน พ.ศ. 2567
งานอื่นๆ ภายนอกมหาวิทยาลัยรามคำแหง
ผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาบทความประจำวารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ผู้ทรงวุฒิพิจารณาบทความประจำวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
วิทยากรโครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ “การวิเคราะห์บทบาทของสถาบันทางการเมืองกับการบริหารงานภาครัฐในยุค New Normal” บรรยายเรื่อง “บทบาทของสถาบันทางการเมืองกับระบบราชการและการบริหารงานภาครัฐ” สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี วันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2564
วิทยากรโครงการบรรยายหัวข้อ “ทหารกับการเมืองและประชาธิปไตยไทย” ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา วันที่ 2 ตุลาคม พ.ศ. 2565
วิทยากรโครงการบรรยายหัวข้อ “ทหารกับการพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันพระมหากษัตริย์” หลักสูตรรัฐศาสตรบัณฑิต โรงเรียนกฎหมายและการเมือง มหาวิทยาลัยสวนดุสิต วันที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2565
วิทยากรรายการเพื่อการศึกษา ชุดวิชา 80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช วันที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2565
อาจารย์พิเศษบรรยายหัวข้อ “ทหารกับการเมืองไทย” รายวิชา สัมมนาประเด็นทางการเมืองการปกครองของไทย ภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ วันที่ 3 ตุลาคม พ.ศ. 2566
อาจารย์พิเศษบรรยายรายวิชา การเมืองไทยสมัยใหม่ และรายวิชา แนวทางและประเด็นปัญหาในการศึกษาการเมืองเปรียบเทียบ ภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วันที่ 13 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2567
วิทยากรร่วมการเสวนาพิเศษหัวข้อ “ทิศทางของทหารในสังคมประชาธิปไตย : บทบาทของกองทัพและความสัมพันธ์กับพลเรือนในศตวรรษที่ 21” งานความร่วมมือทางวิชาการระหว่างโรงเรียนเสนาธิการเหล่าทัพ ประจำปีการศึกษา 2567 โรงเรียนเสนาธิการทหารเรือ วันที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2567
วิทยากรผู้ทรงวุฒิในการอภิปรายกลุ่มวิชาที่ 2 : การเมืองการปกครองและสถาบันการเมืองไทย หัวข้อ “ทหารกับการเมืองไทย” หลักสูตรการเมืองการปกครองในระบอบประชาธิปไตยสำหรับนักบริหารระดับสูงรุ่นที่ 28 (ปปร.28) วิทยาลัยการเมืองการปกครอง สถาบันพระปกเกล้า วันที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2567
ภาระงานสอน
ระดับปริญญาตรี POL1100 รัฐศาสตร์ทั่วไป
POL2100 การปกครองเปรียบเทียบ
POL2106 ปรัชญาการเมืองเบื้องต้น
POL2107 การเมืองเปรียบเทียบเบื้องต้น
POL2146 การปกครองส่วนภูมิภาค
POL4100 หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์
POL4194 ทหารกับการเมือง
RAM1302 การเมืองและกฎหมายในชีวิตประจำวัน
ระดับปริญญาโท POL6090 หลักรัฐศาสตร์
POL6093 ความรู้เบื้องต้นและศัพท์เทคนิคทางรัฐศาสตร์
POL6094 ภาษาอังกฤษสำหรับรัฐศาสตร์
POL6000 ปรัชญาเชิงศาสตร์ในทางรัฐศาสตร์
POL6001 ระเบียบวิธีวิจัยทางรัฐศาสตร์
POL6100 แนวทางการศึกษาทางรัฐศาสตร์
POL6102 การมีส่วนร่วมทางการเมืองในการเมืองไทย
POL6204 รากฐานและแนวคิดที่ก่อร่างโลกการเมืองสมัยใหม่
POL7111 สัมมนาประเด็นปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และการปกครองไทย
RAM6001 ความรู้คู่คุณธรรมสำหรับบัณฑิตศึกษา
ผลงานทางวิชาการ
งานวิจัย
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. การศึกษาการเมืองเรื่องกลุ่มทหารในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2516-2562. รายงานการวิจัย, คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2564. เผยแพร่ในวารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร ที่ 9 ฉบับที่ 7 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2564) TCI กลุ่มที่ 1
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. การศึกษาการเมืองเรื่องกลุ่มทหารในประเทศไทยตั้งแต่ พ.ศ. 2516-2562. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร 9, 7 (พฤศจิกายน-ธันวาคม 2564): 2906-2916. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/250562
ตำรา และ บางบทหรือส่วนหนึ่งในหนังสือ (Book Chapter)
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. บทที่ 7 สถาบันการเมืองในรัฐสมัยใหม่. ใน คณาจารย์คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (บรรณาธิการ), รัฐศาสตร์ทั่วไป, หน้า 141-166. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2564.
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. หน่วยที่ 11 สถาบันกองทัพ. ใน คณะกรรมการกลุ่มปรับปรุงชุดวิชาสถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย (บรรณาธิการ), สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย, หน้า 11-1-11-81. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช, 2566.
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. ทหารกับการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2567.
บทความวิชาการ
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. การเมืองว่าด้วยกลุ่มทหารในการเมืองไทย พ.ศ. 2516-2557. วารสารสังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร. 18, 1 (2565): 141-175. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jssnu/article/view/253039
เอกสารประกอบการสอน
ระดับปริญญาตรี
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. การปกครองส่วนภูมิภาค POL2146. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2565.
ศุภชัย ศุภผล, จักรี ไชยพินิจ, วีระยุทธ พรพจน์ธนมาศ, และปิยะภพ เอนกทวีกุล. หลักและวิธีการวิจัยทางรัฐศาสตร์ POL4100. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2566.
ระดับปริญญาโท
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. ปรัชญาเชิงศาสตร์ในทางรัฐศาสตร์ POL6000. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2566.
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. การมีส่วนร่วมทางการเมืองในการเมืองไทย POL6102. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2567.
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. ความรู้คู่คุณธรรมสำหรับบัณฑิตศึกษา RAM6001. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2567.
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. แนวทางการศึกษาทางรัฐศาสตร์ POL6100. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2567.
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. ภาษาอังกฤษสำหรับรัฐศาสตร์ POL6094. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2567.
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. รากฐานและแนวคิดที่ก่อร่างโลกการเมืองสมัยใหม่ POL6204. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2567.
ปิยะภพ เอนกทวีกุล. หลักรัฐศาสตร์ POL6090. กรุงเทพฯ: ศูนย์เอกสารทางวิชาการ คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2567.
ผลงานอื่นๆ
บทสัมภาษณ์ มองบทบาทผู้นำกองทัพกับการเมืองปี 2564 หนังสือพิมพ์มติชน 9 มกราคม 2564 หน้า 11 https://www.matichon.co.th/politics/special-interview/news_2521425
บทสัมภาษณ์ อ่านความคิด ‘ผู้นำเทรนด์ นศท.’ ต่อ ‘นโยบายยกเลิกเกณฑ์ทหาร’ ชิมลางสมรภูมิเลือกตั้ง SPACEBAR 20 เมษายน 2566 https://news.spacebar.th/politics/Military-students-with-the-idea-of-abolishing-forced-conscription
บทสัมภาษณ์ แม่ทัพบก : ผู้กำหนดทิศทางลมระหว่าง ‘ทหาร – รัฐบาลพลเรือน’ กับแนวโน้ม ‘การปฏิรูปกองทัพ’ SPACEBAR 20 เมษายน 2566 https://spacebar.th/politics/Commander-in-Chief-of-the-Army-reform-the-Armed-Forces-good-relations-between-the-military-and-government
บทสัมภาษณ์ ‘กลาโหม’ ใต้ร่มเงา คนนามสกุล ‘คลังแสง’ SPACEBAR 1 กันยายน 2566 https://spacebar.th/politics/Sutin-Kangsaeng-Minister-of-Defense
รายการเพื่อการศึกษา เรื่อง สถาบันกองทัพ ตอนที่ 1 แนวคิดเรื่องสถาบันกองทัพ ชุดวิชา 80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช https://www.youtube.com/watch?v=lLvTXFMUX90
รายการเพื่อการศึกษา เรื่อง สถาบันกองทัพ ตอนที่ 2 บทบาททางการเมืองของสถาบันกองทัพในประเทศต่างๆ ชุดวิชา 80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช https://www.youtube.com/watch?v=wa1mVukqggs
รายการเพื่อการศึกษา เรื่อง สถาบันกองทัพ ตอนที่ 3 บทบาททางการเมืองของสถาบันกองทัพในประเทศไทยตั้งแต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง ชุดวิชา 80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช https://www.youtube.com/watch?v=5QsQcgfs114
รายการเพื่อการศึกษา เรื่อง สถาบันกองทัพ ตอนที่ 4 บทบาททางการเมืองของสถาบันกองทัพในการเมืองไทยหลังรัฐประหาร ชุดวิชา 80202 สถาบันและกระบวนการทางการเมืองไทย สาขาวิชารัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช https://www.youtube.com/watch?v=vF2lCx0vHts
ความสนใจทางวิชาการ
การเมืองเปรียบเทียบ
การเมืองการปกครองไทย
ทหารกับการเมือง
แนวคิดและทฤษฎีทางรัฐศาสตร์
รัฐธรรมนูญ สถาบันทางการเมือง และกระบวนการทางการเมือง