มหาวิทยาลัยรามคำแหง

: 02-3108466-67   |  EN 

อาจารย์ ดร.กิตติพศ พุทธิวนิช

|
เขียนโดย PolSci.ru


ชื่อภาษาไทย : อาจารย์ ดร.กิตติพศ พุทธิวนิช
ชื่อภาษาอังกฤษ : Lecturer Dr.Kittipos  Phuttivanich
สถานที่ติดต่อ : คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง 2086 ถนนรามคำแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ รหัสไปรษณีย์ 10240
E-mail address : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.


การศึกษา

  • รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2562
  • รัฐศาสตรบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2556

วิทยานิพนธ์
- กิตติพศ พุทธิวนิช. 2562. การปฏิรูปกระบวนการนโยบายต่างประเทศของจีนในสมัชชา 18. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ผลงานตีพิมพ์

ภาษาอังกฤษ

- Phuttivanich, Kittipos. 2019. The China’s High-speed Railway Project: A Unique Path of Development. Political Science Review, 5 (2), 41-98.
- Phuttivanich, Kittipos. 2023. International Initiatives in Thai Foreign Affairs and its Lost Decade?.    Political Science Critique, 10 (20), 54-86.

ภาษาไทย

- กิตติพศ พุทธิวนิช. 2562. การใช้อำนาจละมุน (Soft Power) ของกองทัพปลดแอกประชาชนจีน: งานการเมืองและยุทธศาสตร์สามสงครามใหม่. เอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา, 19 (2/2562).
- กิตติพศ พุทธิวนิช. 2563. การปฏิรูปกองทัพปลดแอกประชาชน: นัยต่อความเป็นผู้นำของสีจิ้นผิง. สังคมศาสตร์, 50 (1), 139-162.
- กิตติพศ พุทธิวนิช. 2564. ผลประโยชน์แห่งชาติกับทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ. รัฐศาสตรพิจาร, 8 (15), 1-25.
- กิตติพศ พุทธิวนิช. 2565. แสงสว่างที่ปลายอุโมค์: ปทัสถานร่วมกันในภูมิภาคอินโด-แปซิฟิก?. วิเทศปริทัศน์, 8/2565.
- กิตติพศ พุทธิวนิช. 2566. หน่วยที่ 12 พิธีทางการทูตและการกงสุล, การทูตและนโยบายต่างประเทศ. นนทบุรี:สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
- กิตติพศ พุทธิวนิช. 2566. บทบาทของสีจิ้นผิงในการเปลี่ยนแปลงสถาบันความสัมพันธ์ระหว่างพรรคกับรัฐในการเมืองจีนในช่วงสมัชชาที่ 18, 19 และ 20. เอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา, 23 (2/2566), 100-    121.

วิชาที่สอนในมหาวิทยาลัยรามคำแหง

ปริญญาตรี

  • POL2200 ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศเบื้องต้น
  • POL3172 การเมืองการปกครองจีน
  • POL3214 การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศที่ไม่ใช่กระแสหลัก
  • POL4253 ความรับผิดชอบในการปกป้อง
  • POL4254 จีนในการเมืองโลก

ปริญญาโท

  • POL6094 ภาษาอังกฤษสำหรับรัฐศาสตร์
  • POL6200 ทฤษฎีความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ
  • POL6201 สถานการณ์การเมืองโลกในปัจจุบัน
  • POL6202 นโยบายต่างประเทศของไทย
  • POL6204 รากฐานและแนวคิดที่ก่อร่างโลกการเมืองสมัยใหม่
  • POL7208 การเมืองระหว่างประเทศในเอเชียตะวันออก

ปริญญาเอก

  • POL9228 ประเทศไทยในเอเชียอาคเนย์

งานวิชาการอื่น ๆ

  • ผู้บรรยายในงาน Workshop on “Devising a Regional Pedagogy on the Indo-Pacific” วันที่ 11-13 มีนาคม พ.ศ. 2567 ณ Christ University เมืองเบงกาลูรู รัฐกรณาฏกะ ประเทศอินเดีย จัดโดย Centre for East Asian Studies ร่วมกับ Council on Strategic and Defense Research และสถานกงศุลใหญ่สหรัฐอเมริกาประจำนครเจนไน
  • ผู้ร่วมอภิปรายในงานเสวนา “The Paradox of Henry Kissinger” วันที่ 21 ธันวาคม พ.ศ. 2566 ณ ห้องทับทิมสยาม คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ จัดโดยภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
  • ผู้ร่วมอภิปรายในงานเสวนา “นัยยะทางการเมืองในภาพยนต์เรื่อง Oppenheimer” วันที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2566 ณ ห้อง SB301 อาคารศรีศรัทธา มหาวิทยาลัยรามคำแหง จัดโดยกลุ่มศึกษาประชาธิปไตยและการเมือง มร. ร่วมกับชมรมรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ผู้ร่วมอภิปรายในงานสัมมนา “The View from Southeast Asia: Building Shared Values for Equity” วันที่ 26 กรกฎาคม พ.ศ. 2565 ณ โรงแรม Taj Connemara นครเจนไน รัฐทมิฬนาฑู ประเทศอินเดีย จัดโดยสถานกงศุลใหญ่สหรัฐอเมริกาประจำนครเจนไน, Indo-Pacific Circle, Council for Strategic and Defense Research และ Council for Policy Research
  • ผู้ร่วมอภิปรายในงาน “Korea-ASEAN 2022 Next Generation Policy Experts Network” วันที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2565 จัดโดย Institute of Security and International Studies (ISIS Thailand) และ Korea Foundation (KF)
  • นำเสนอบทความวิชาการเรื่อง “The Paradox of Thailand Foreign Policy” ในงานประชุมวิชาการนานาชาติหัวข้อ Multidisciplinary ASEAN Plus in the Age of Disruptive Society วันที่ 11-12 พฤษภาคม พ.ศ. 2565 จัดโดยมหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • ผู้ร่วมอภิปรายในงานสัมมนา “Framing the Indo-Pacific: Pathways to the Future” (ออนไลน์) วันที่ 10 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2565 จัดโดย Indo-Pacific Circle
  • ผู้ร่วมการประชุม ISC Young Scholar Roundtable ครั้งที่ 3 ณ ห้องประชุม 3 กระทรวงการต่างประเทศ ถนนศรีอยุธยา วันที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2563 จัดโดยศูนย์ศึกษาการต่างประเทศ (ISC) สถาบันการต่างประเทศเทวะวงศ์วโรปการ กระทรวงการต่างประเทศ
  • ผู้ร่วมอภิปรายในเวทีรัฐศาสตร์เสวนา ครั้งที่ 3 หัวข้อ “ไทยกับการเป็นประธานอาเซียน 2019: สู่การเป็นประชาคมอาเซียนที่มีประชาชนเป็นศูนย์กลาง” ณ ห้อง 403 อาคารเรียนรู้ทางภาษา (LLB) คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน จังหวัดนครปฐม วันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2562 จัดโดยหลักสูตรรัฐศาสตร์บัณฑิต สาขาวิชาการเมืองและการปกครอง และโครงการจัดตั้งภาควิชาสังคมศาสตร์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน
  • ผู้ร่วมอภิปรายในเวทีสัมมนาเรื่อง “ความขัดแย้งในฮ่องกง ระหว่างรัฐบาลจีนและกลุ่มผู้ประท้วง” (ฮ่องกงกับการตื่นตัวทางการเมืองของคนรุ่นใหม่) ณ ห้อง 402 อาคารคณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา จังหวัดชลบุรี วันที่ 18 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 จัดโดยภาควิชารัฐศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์และนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ผู้ร่วมประชุมในงาน “2nd Young Leaders Forum: “Empowering Youth to Participate in Atrocity Prevention: Young People’s Unique Voices on Atrocity Prevention and R2P” ณ โรงแรม Hotel Borobudur กรุงจาการ์ต้า อินโดนีเซีย วันที่ 27 สิงหาคม พ.ศ. 2562 จัดโดย Asia Pacific Centre for the Responsibility to Protect และ the University of Queensland
  • ผู้ร่วมจัดงาน “2nd National Dialogue on Atrocities Prevention: Locating Violence and Possibilities for Application of R2P in the Thai Context” ณ โรงแรม Anantara Siam กรุงเทพฯ วันที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2561 จัดโดย Asia Pacific Centre for the Responsibility to Protect, มหาวิทยาลัยมหิดล และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ตัวแทนประเทศไทยเข้าร่วมประชุมในงาน “Young Leaders Forum: “Strengthening Atrocity Prevention in the Asia Pacific” ณ โรงแรม Anantara Siam กรุงเทพฯ วันที่ 21 สิงหาคม พ.ศ. 2561 จัดโดย Asia Pacific Centre for the Responsibility to Protect และ the University of Queensland
  • นำเสนอบทความในหัวข้อ “Reviewing China’s High Speed Railway Project” ในงาน The International Conference on Belt and Road Initiative (BRI) & Greater Mekong Sub-region Cooperation: Lancang Jiang-Mekong River: Rising Smart Corridor ณ โรงแรม Empress Hotel เชียงใหม่ วันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2560 จัดโดย ศูนย์แม่โขงศึกษา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ และสถานกงศุลจีนประจำเชียงใหม่
  • ผู้ร่วมจัดงาน “National Dialogue on Atrocities Prevention: Locating R2P in the Thai Context” ณ โรงแรม Anantara Siam กรุงเทพฯ วันที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2560 จัดโดย Asia Pacific Centre for the Responsibility to Protect and the University of Queensland และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ผู้ร่วมจัดงาน “Southeast Asia-Africa Dialogue: Regionalism, Norm Promotion, and Capacity Building for Human Protection” และ “Public Seminar on Mainstreaming the Responsibility to Protect (R2P) in Southeast Asia: Pathway towards a Caring ASEAN Community” ณ โรงแรม Four Seasons กรุงเทพฯ วันที่ 29-30 ตุลาคม พ.ศ. 2557 จัดโดย Asia-Pacific Centre for the Responsibility to Protect, University of Queensland และจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • นำเสนอบทความในหัวข้อ “เบื้องหลังประชาคมอาเซียนและพลวัตรการเป็นภูมิภาคนิยมจนถึงการบูรณาการของอาเซียนในยุค 1976-2012: ความจำเป็น สถาบัน และการบูรณาการ” ในงานจุฬาวิชาการ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วันที่ 16 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

ตำแหน่งอื่น ๆ ภายในมหาวิทยาลัย

  • ประธานศูนย์การเมือง สังคม และอาณาบริเวณศึกษา คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง
  • บรรณาธิการวารสารเอเชียตะวันออกและอาเซียนศึกษา
  • กรรมการสภาคณาจารย์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง รุ่น 33

หมวด: